เอกซ์เอชทีเอ็มแอล ( XHTML: Extensible Hypertext Markup Language ภาษามาร์กอัปข้อความหลายมิติขยายได้) เป็นภาษามาร์กอัปที่มีลักษณะการใช้งานเหมือน HTML แต่จะมีความเข้มงวดในเรื่องโครงสร้างภาษา โดยมีวากยสัมพันธ์สอดคล้องกับ XML เนื่องจาก HTML นั้นใช้โครงสร้างของ SGML ที่ค่อนข้างยืดหยุ่น ในขณะที่ XHTML

Read More

ใน HTML และ XHTML ได้ใช้ font face หรือ font family เป็นตัวกำหนด รูปแบบตัวอักษร การกำหนดรูปแบบตัวอักษรในการเขียนรหัส HTML จำเป็นต้องใช้ Element Font, หรือใช้ Cascading Style

Read More

แคสเคดดิงสไตล์ชีตส์ (Cascading Style Sheets: CSS) เป็นภาษาสไตล์ชีตใช้ในการจัดรูปแบบ เป็นหน่วยงานราชการส่วนกลางประเภทกระทรวงของไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม สนับสนุน และกำกับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลกกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมเกิดจากการรวมหน่วยงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติเข้าด้วยกัน

Read More

เอชทีทีพีคุกกี้ (HTTP cookie) นิยมเรียกว่า เว็บคุกกี้ หรือ คุกกี้ หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่ถูกส่งจากเว็บเซิร์ฟเวอร์มายังเว็บเบราว์เซอร์ และถูกส่งกลับมายังเว็บเซิร์ฟเวอร์ทุกๆครั้งที่เว็บเบราว์เซอร์ร้องขอข้อมูล โดยปกติแล้วคุกกี้จะถูกใช้เพื่อจัดเก็บข้อมูลขนาดเล็กๆไว้ที่เว็บเบราว์เซอร์ เพื่อให้เว็บเซิร์ฟเวอร์สามารถจดจำสถานะการใช้งานของเว็บเบราว์เซอร์ที่มีต่อเว็บเซิร์ฟเวอร์ตัวอย่างการใช้งานคุกกี้เช่น ใช้เพื่อจดจำชื่อบัญชีผู้ใช้ เวลาที่ผู้ใช้เข้าเว็บครั้งล่าสุด ข้อมูลสินค้าที่ผู้ใช้เลือกไว้ ข้อมูลในคุกกี้เหล่านี้ ทำให้เว็บไซต์สามารถที่จะจดจำผู้ใช้ได้ แต่ไม่สามารถส่งคำสั่งมาประมวลผล หรือส่งไวรัสคอมพิวเตอร์ผ่านคุกกี้ได้ และมีเพียงเซิร์ฟเวอร์ที่สร้างคุกกี้นั้นๆ

Read More

ข้อความระบุความผิดพเมื่อมีการติดต่อผ่านทางเอชทีทีพี เซิร์ฟเวอร์ต้องตอบสนองกับการร้องขอ เช่นเว็บเบราว์เซอร์ส่งคำร้องขอเอกสารเอชทีเอ็มแอล (เว็บเพจ) ด้วยรหัสตอบสนองแบบตัวเลข และตัวเลือกข้อความว่าอนุญาตหรือไม่อนุญาต (ขึ้นอยู่กับรหัสสถานภาพ) ตัวแรกของรหัส “4” หมายถึงความผิดพลาดทางไคลเอนต์ เช่น การพิมพ์ยูอาร์แอลผิด ตัวเลขที่ตามมาอีกสองตำแหน่ง “04” ระบุสาเหตุของความผิดพลาดที่พบ เอชทีทีพีใช้ระบบรหัสสามตัวในลักษณะนี้ซึ่งคล้ายคลึงกับรหัสที่ใช้ในโพรโทคอลก่อนหน้าอย่างเช่นเอฟทีพีและเอ็นเอ็นทีพี สำหรับรหัสตอบสนอง 404 จะตามด้วย “ข้อความระบุสาเหตุ”

Read More

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อรหัสสถานภาพในการตอบรับเอชทีทีพีจากเครื่องให้บริการ ซึ่งมีทั้งรหัสที่กำหนดโดยมาตรฐานอินเทอร์เน็ตของคณะทำงานเฉพาะกิจด้านวิศวกรรมอินเทอร์เน็ต (IETF) และกำหนดโดยเอกสารขอความเห็น (RFC) เอกสารลักษณะเฉพาะอื่น ๆ และรหัสที่มีการใช้งานโดยทั่วไปเพิ่มเข้ามา ตัวเลขแรกของรหัสสถานภาพ (หลักร้อย) เป็นตัวระบุประเภทของการตอบรับหนึ่งในห้าประเภท ซึ่งเครื่องลูกข่ายเอชทีทีพีสามารถรับรู้ประเภททั้งห้านี้ได้เป็นอย่างน้อย อินเทอร์เน็ตอินฟอร์เมชันเซอร์วิสเซส (IIS) ของไมโครซอฟท์ใช้รหัสย่อยเป็นทศนิยมเพิ่มเติมเพื่อแสดงข้อมูลให้เจาะจงมากยิ่งขึ้น แต่จะไม่นำมาแสดงไว้ในนี้ วลีเหตุผลที่อยู่ถัดจากรหัสสถานภาพเป็นตัวอย่างมาตรฐาน ซึ่งสามารถเขียนหรือแปลให้เป็นอย่างอื่นเพื่อให้มนุษย์สามารถอ่านเข้าใจได้ ถ้าหากรหัสสถานภาพใดไม่มีการระบุหมายเหตุ แสดงว่ารหัสนั้นเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน

Read More

ส่วนหัวของเอชทีทีพี เป็นส่วนประกอบหลักของการร้องขอบนเอชทีทีพี และเป็นส่วนที่สำคัญสำหรับการตอบรับเอชทีทีพีด้วย ส่วนหัวเหล่านี้เป็นการกำหนดลักษณะเฉพาะต่าง ๆ ของข้อมูลที่ร้องขอ หรือข้อมูลที่ถูกจัดสรรให้ ส่วนหัวของเอชทีทีพีแยกออกจากส่วนของเนื้อหาด้วยบรรทัดว่างหนึ่งบรรทัด ข้อมูลส่วนหัวอาจเป็นสายอักขระที่แทบจะไม่มีกฎเกณฑ์ แต่ก็มีส่วนหัวบางตัวที่เป็นที่ยอมรับและเข้าใจโดยทั่วไป และเครื่องหมาย เช่น RDF Schema (RDFS) และ Web Ontology Language (OWL)

Read More

การเชื่อมต่อเอชทีทีพีแบบคงอยู่ ( HTTP persistent connection) คือแนวคิดของการใช้การเชื่อมต่อบนเกณฑ์วิธีควบคุมการขนส่งข้อมูล (TCP) อันเดียวกันในการส่งข้อความร้องขอและข้อความตอบรับของเกณฑ์วิธีขนส่งข้อความหลายมิติ (HTTP) ซึ่งปกติจะเป็นการเปิดการเชื่อมต่อใหม่ทุกครั้งเมื่อการรับส่งข้อความกันหนึ่งคู่ เน็ตสเคป แนวิเกเตอร์ตั้งแต่รุ่น 4.05 และอินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ตั้งแต่รุ่น 4.01 รองรับการเชื่อมต่อแบบคงอยู่ไปยังเว็บเซิร์ฟเวอร์และพร็อกซี แนวิเกเตอร์จะไม่ปิดการเชื่อมต่อแบบคงอยู่โดยรอให้หมดเวลา การเชื่อมต่อที่ปล่อยทิ้งไว้จะนำเข้าไปเก็บในคิว และเมื่อจำเป็นต้องเปิดการเชื่อมต่อแบบคงอยู่ใหม่บนเครื่องให้บริการอื่น การเชื่อมต่อที่ปล่อยทิ้งจะถูกตัดจบ

Read More