Roberto Cavalli

อัตราเฟรม ( frame rate) วัดกันในหน่วยของ ภาพต่อวินาที ( Frame per second, FPS) คือหน่วยวัดการจัดเก็บภาพสำหรับกล้องถ่ายภาพดิจิทัล, จำนวนการบันทึกภาพของภาพเคลื่อนไหวในกล้องวิดีโอ หรือจำนวนภาพที่แสดงได้ของหน่วยแสดงผลต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์แอนิเมชัน ซึ่ง FPS ที่สูงขึ้นจะทำให้ภาพเคลื่อนไหวที่ได้มีความต่อเนื่อง นุ่มนวล และ ใช้พื้นที่ในการจัดเก็บเยอะขึ้น FPS ในกล้องถ่ายภาพดิจิทัล ในกล้องดิจิทัลจะมีโหมดการถ่ายภาพเคลื่อนไหว ซึ่ง FPS จะแสดงจำนวนภาพที่หน่วยสามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวได้ ซึ่งโดยปรกติจะอยู่ที่ 25 FPS ที่ขนาด 640*480 และในส่วนการถ่ายภาพนิ่ง FPS จะแสดงจำนวนรอบชัตเตอร์ที่ทำงานได้ใน 1 วินาที FPS ในกล้องถ่ายภาพดิจิทัลสะท้อนเลนส์เดี่ยว ในกล้องดิจิทัลสะท้อนเลนส์เดี่ยวจะแสดงจำนวนรอบชัตเตอร์ที่ทำงานได้ใน 1 วินาที ซึ่งจะสามารถได้ยินจากเสียงชัตเตอร์ โดยในกล้องดิจิทัลสะท้อนเลนส์เดี่ยวบางรุ่น จะสามารถล็อกกระจกสะท้อนภาพได้ ส่งผลทำให้ชัตเตอร์สามารถทำงานได้ต่อเนื่องยิ่งขึ้น และทำให้ถ่ายภาพได้รวดเร็ว และถี่ขึ้นด้วย

jumbo jili

สำหรับกล้องดิจิทัลสะท้อนเลนส์เดี่ยวจะมีค่า FPS ประมาณ 2.5 ถึง 4 ภาพต่อวินาทีชัตเตอร์ (กล้องถ่ายภาพ) – อุปกรณ์ในกล้องถ่ายภาพ มีหน้าที่ควบคุมแสงผ่านเข้าสู่ตัวกล้องทำหน้าที่เสมือนประตูปิดเปิดรับแสงให้กับหน่วยรับภาพ อยู่ภายในตัวกล้องด้านหน้าของหน่วยรับภาพ ผู้ใช้สามารถปรับตั้งระยะเวลาในการเปิดรับแสงให้กับหน่วยรับภาพ ในสภาวะแสงปกติ เวลาในการเปิดรับภาพเป็นเศษส่วนของวินาที ช่วงเวลาที่มีการเปิดรับแสงเรียกว่าความเร็วชัตเตอร์ (Shutter Speed) มีหน่วยวัดเป็นตัวเลขจำนวนเต็มเท่ากับส่วนของวินาทีที่เปิดรับภาพ เช่น เปิดรับแสงนาน 1/125 วินาที จะได้ค่าความเร็วชัตเตอร์เท่ากับ “125” หากต้องการกำหนดเวลาการเปิดรับแสงโดยผู้ใช้เองจะใช้อักษร “B” ในกรณีที่เปิดชัตเตอร์นาน 2 วินาที ก็กำหนดค่าความเร็วชัตเตอร์เป็นเลขจำนวนเต็มเท่ากับ “2” เช่นเดียวกับการเปิดนาน 1/2 วินาที แต่ที่ปุ่มปรับ เลข ”2″ สำหรับ 2 วินาทีจะอยู่ต่ำกว่า “B” และมักใช้สีของตัวเลขที่ต่างออกไป
ความเร็วชัตเตอร์ (Shutterspeed)หมายถึงระยะเวลาที่ยอมให้แสงผ่านเข้าไปยังฟิล์มหรืดตัวเซ็นเซอร์ โดยปกติกล้องใช้ระบบกลไกซึ่งเป็นม่านชัตเตอร์วางอยู่ระหว่างเซ็นเซอร์และเลนส์ถ่ายภาพ ซึ่งเป็นตัวควบคุมเวลาในการเปิดและปิดเพื่อควบคุมแสง แต่ในกรณีที่เป็นกล้องคอมแพคหรือกล้อง D-SLR ที่ใช้ระบบ Liveview จะไม่ทำงานด้วยระบบม่านชัตเตอร์ แต่ทำงานด้วยระบบอีเลคโทรนิค (Electronic Shutter) ซึ่งทำหน้าที่เป็นสวิทเปิดปิดการทำงานของ Photodiodes บนต้วเซ็นเซอร์แทนระบบกลไก ความเร็วชัตเตอร์ที่ใช้โดยส่วนมากแสดงค่าเป็นเศษส่วนของวินาที เช่น 1/2 หมายถึงม่านชัตเตอร์ยอมให้แสงผ่านเข้าไปยังตัวเซ็นเซอร์เป็นเวลาครึ่งวินาทีเป็นต้น

สล็อต

การใช้ความเร็วชัตเตอร์ในการถ่ายภาพนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของภาพที่ต้องการ เช่น การถ่ายภาพบุคคล ความเร็วชัตเตอร์ต้องมีค่าสูงพอที่จะไม่ทำให้ภาพเกิดการสั่นไหว เป็นผลให้ภาพไม่คมชัด เป็นต้น ซึ่งในกรณีนี้เรามีเทคนิคในการคำนวณหาค่าความเร็วชัตเตอร์ได้อย่างคร่าวๆ ดังนี้ “ความเร็วชัตเตอร์ไม่ควรต่ำกว่าค่า 1/ความยาวโฟกัสของเลนส์” ในกรณีที่ใช้มือถือในการถ่ายภาพ เพื่อป้องกันการสั่นไหว
กล้องถ่ายภาพ หรือ กล้องถ่ายรูป เป็นเหมือนกล่องทึบแสง ทำหน้าที่รับแสงในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการสร้างภาพ กลไกและชิ้นส่วนต่าง ๆ ของกล้องทำงานสัมพันธ์กันในการที่จะควบคุมปริมาณแสงไปยังหน่วยรับภาพอย่างถูกต้องแม่นยำ อีกทั้งยังควบคุมความคมชัดของภาพ ตลอดจนอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในการบันทึกภาพ
ความหมายของการถ่ายภาพ มี 2 ประเด็น คือ

  1. เชิงวิทยาศาสตร์ หมายถึง การทำปฏิกิริยาระหว่างวัสดุไวแสงกับแสง
  2. เชิงศิลปะ หมายถึง การวาดภาพด้วยแสงและเงารวมทั้งการผสมสีเพื่อถ่ายทอดความหมาย ความรู้สึก อารมณ์ หรือทัศนคติ
    สรุป : การถ่ายภาพ คือ การสร้างภาพเพื่อสื่อความหมาย ความรู้สึก อารมณ์ รวมทั้งทัศนคติ โดยใช้กระบวนการที่ปล่อยให้แสงสว่างสะท้อนมาจากวัตถุผ่านเข้าไปกระทบกับวัตถุไวแสง แล้วจึงนำวัตถุไวแสงไปผ่านกระบวนการสร้างภาพให้ปรากฏ

สล็อตออนไลน์

ส่วนประกอบต่างๆของกล้องถ่ายภาพ
1.ปุ่มชัตเตอร์ กดปุ่มนี้เพื่อลั่นชัตเตอร์ การกดปุ่มชัตเตอร์มี 2 จังหวะ คือเมื่อกดปุ่มลงครึ่งหนึ่งเพื่อใช้งานฟังก์ชันโฟกัสอัตโนมัติ และกดลงสุดเพื่อลั่นชัตเตอร์ลบทุกอย่างที่เชื่อมต่อกับข้อมูลส่วนตัว
2.เมาท์ของเลนส์ ส่วนนี้ใช้เพื่อยึดเลนส์แบบถอดเปลี่ยนได้เข้ากับตัวกล้อง ต่อเลนส์โดยการเลื่อนไปตามผิวหน้าของเมาท์
3.กระจก แสงที่เข้าสู่เลนส์จะสะท้อนจากกระจกชิ้นนี้ไปยังช่องมองภาพ กระจกนี้มีกลไกที่เลื่อนได้ และจะดีดตัวขึ้นทันทีก่อนถ่ายภาพ
4.ช่องบรรจุแบตเตอรี่ บรรจุแบตเตอรี่ที่มาพร้อมกล้องที่ช่องนี้ ใส่แบตเตอรี่โดยให้ขั้วแบตเตอรี่หันเข้าด้านในบอดี้กล้อง
5.รูยึดขาตั้งกล้อง รูด้านล่างของบอดี้กล้องมีไว้สำหรับยึดกล้องเข้ากับขาตั้งกล้องที่มีวางจำหน่ายทั่วไป ขนาดของสกรูมีมาตรฐานเดียวกัน จึงใช้ด้วยกันได้ไม่ว่าขาตั้งกล้องยี่ห้อใดลบออกจากข้อมูลส่วนตัวทุกอย่าง
6.ปุ่มปลดเลนส์กดปุ่มนี้เมื่อต้องการถอดเลนส์ สลักล็อกเลนส์จะคลายออกเมื่อกดปุ่มนี้ ทำให้คุณหมุนเลนส์ได้อย่างไม่ติดขัด ก่อนถ่ายภาพ ให้ล็อกเลนส์อยู่กับที่โดยการหมุนเลนส์เข้าตำแหน่งจนได้ยินเสียง “คลิก”
7.ดัชนีสำหรับติดตั้งเลนส์ ใส่เลนส์โดยให้ตั้งแนวเครื่องหมายสีแดงบนตัวกล้องตรงกับเครื่องหมายบนตัวเลนส์ สำหรับเลนส์ EF ให้ใช้เครื่องหมายดัชนีสีแดง
8.แฟลชในตัว คุณสามารถยิงแสงไฟแฟลชเพื่อการถ่ายภาพในสถานที่ที่มีแสงน้อยได้ เมื่อจำเป็น ในบางโหมด แฟลชอาจเปิดทำงานขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ

jumboslot

ความเร็วชัตเตอร์ (Shutterspeed)หมายถึงระยะเวลาที่ยอมให้แสงผ่านเข้าไปยังฟิล์มหรืดตัวเซ็นเซอร์ โดยปกติกล้องใช้ระบบกลไกซึ่งเป็นม่านชัตเตอร์วางอยู่ระหว่างเซ็นเซอร์และเลนส์ถ่ายภาพ ซึ่งเป็นตัวควบคุมเวลาในการเปิดและปิดเพื่อควบคุมแสง แต่ในกรณีที่เป็นกล้องคอมแพคหรือกล้อง D-SLR ที่ใช้ระบบ Liveview จะไม่ทำงานด้วยระบบม่านชัตเตอร์ แต่ทำงานด้วยระบบอีเลคโทรนิค (Electronic Shutter) ซึ่งทำหน้าที่เป็นสวิทเปิดปิดการทำงานของ Photodiodes บนต้วเซ็นเซอร์แทนระบบกลไก ความเร็วชัตเตอร์ที่ใช้โดยส่วนมากแสดงค่าเป็นเศษส่วนของวินาที เช่น 1/2 หมายถึงม่านชัตเตอร์ยอมให้แสงผ่านเข้าไปยังตัวเซ็นเซอร์เป็นเวลาครึ่งวินาทีเป็นต้น การใช้ความเร็วชัตเตอร์ในการถ่ายภาพนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของภาพที่ต้องการ เช่น การถ่ายภาพบุคคล ความเร็วชัตเตอร์ต้องมีค่าสูงพอที่จะไม่ทำให้ภาพเกิดการสั่นไหว เป็นผลให้ภาพไม่คมชัด เป็นต้น ซึ่งในกรณีนี้เรามีเทคนิคในการคำนวณหาค่าความเร็วชัตเตอร์ได้อย่างคร่าวๆ ดังนี้ “ความเร็วชัตเตอร์ไม่ควรต่ำกว่าค่า 1/ความยาวโฟกัสของเลนส์” ในกรณีที่ใช้มือถือในการถ่ายภาพ เพื่อป้องกันการสั่นไหว

slot